กฏหมายเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม

Last updated: 7 มิ.ย. 2555  |  12646 จำนวนผู้เข้าชม  | 

กฏหมายเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม

 
    กฏหมาย มีหลากหลายเลย แต่เรามาดูกันหน่อยน่ะ เพื่อสิ่งแวดล้อม เพื่อโลก และเพื่อตัวเราเอง 

 " ไม่ยากเลย  ทางวิศกร ของเรา  จะ นำมาให้ดูกัน เฉพาะ ตัวที่สำคัญ สำคัญ ที่ใกล้ตัวเรามากที่สุด "


 กฏหมายเกี่ยวกับการบำบัดน้ำเสียที่สำคัญ
 1.  พ.ร.บ.กรมสาธารณสุข พ.ศ.2535
2.  พ.ร.บ.โรงงาน พ.ศ.2535
3.  พ.ร.บ.รักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง พ.ศ.2535
4.  ประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 286 พ.ศ.2515 เกี่ยวกับการจัดสรรที่ดิน
5.  ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรืองควบคุมการระบายน้ำทิ้ง พ.ศ.2534
6.  ข้อบัญญัติเมืองพัทยา  พ.ศ.2530
8.  พ.ร.บ.ควบคุมอาคาร พ.ศ.2522
9พรบ.ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2535

ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ลงวันที่ 10 มกราคม 2537
   -  กำหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้ำทิ้งจากอาคารบางประเภทและบางขนาด

ปัจจุบัน กระทรวงที่ดูแลและควบคุม คือกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
และ ผู้ควบคุมดูแลและตรวจสอบ คือ กรมควบคุมมลพิษ


เรามาดูเนื้อหากันเลย GO...

 พ.ร.บ. ควบคุมอาคาร พ.ศ.2522
 หมวด 3 ระบบบำบัดน้ำเสียและการระบายน้ำทิ้ง
 ข้อ 33  น้ำเสียต้องผ่านระบบบำบัดน้ำเสีย จนเป็นน้ำทิ้ง ก่อนระบายสู่แหล่งรองรับน้ำทิ้ง โดยคุณภาพน้ำทิ้งให้เป็นไปตามประกาศสำนักงานคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ (ปัจจุบันคือกรมควบคุมมลพิษ) เรื่องกำหนดมาตรฐานคุณภาพน้ำทิ้งจากอาคาร
 
หมวด 8 การสุขาภิบาล
 ข้อ 87  น้ำใช้แล้วจากโรงงานอุตสาหกรรม .
โรงพยาบาล ตลาดสด ภัตตาคาร อาคารชุด หอพัก และอาคารที่เกี่ยวกับ กิจกรรมค้าที่น่ารังเกียจ หรืออาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพ ซึ่งมีการระบายน้ำใช้แล้ว จากกิจกรรมนั้น ต้องมีระบบกำจัดน้ำใช้แล้วก่อนจะระบายลงสู่ทางระบายน้ำสาธารณะ
 ข้อ 90  การสุขาภิบาล
ส้วมต้องเป็นชนิดชำระสิ่งปฏิกูลด้วยน้ำ ลงบ่อเกรอะ บ่อซึม และการสร้างส้วมภายในระยะ 20 เมตร จากเขตคูคลองสาธารณะ ต้องสร้างเป็นส้วมถังเก็บชนิดน้ำซึมไม่ได้




 
พ.ร.บ.ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2535
 ตามประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม

 เรื่อง กำหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้ำทิ้งจากอาคารบางประเภทและบางขนาด

  ออกตามความในมาตรา 55 แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2535


 
 
สรุปประเภทของอาคารเป็นแหล่งกำเนิดมลพิษที่จะต้องถูกควบคุมการปล่อยน้ำเสีย
ลงสู่แหล่งน้ำสาธารณะ หรือออกสู่สิ่งแวดล้อม
 
 
 
ประเภทอาคาร ขนาดของอาคารที่กำหนดมาตรฐานการระบายน้ำทิ้ง
1.อาคารชุดตามกฎหมายว่าด้วยอาคารชุด ตั้งแต่
500 ห้องนอน
100 -ไม่ถึง 500 ห้องนอน ไม่ถึง-100 ห้องนอน - -
2.โรงแรมตามกฎหมายว่าด้วยโรงแรม ตั้งแต่
200 ห้อง
60 - ไม่ถึง
200 ห้อง
ไม่ถึง 60 ห้อง - -
3.หอพักตามกฎหมายว่าด้วยหอพัก - ตั้งแต่ 250 ห้อง 50- ไม่ถึง 250 ห้อง 10 - ไม่ถึง 50 ห้อง -
4. สถานบริการ - ตั้งแต่ 5,000 ม.2 1,000 - ไม่ถึง
5,000 ม.2
- -
5.โรงพยาบาลของทางราชการ หรือสถานพยาบาลตามกฎหมาย ตั้งแต่
30 เตียง
10 - ไม่ถึง
30 เตียง
- - -
6.อาคารโรงเรียนราษฎร์ โรงเรียนของทางราชการ
สถาบันอุดมศึกษาของเอกชน หรือสถาบันอุดมศึกษาของทางราชการ
ตั้งแต่
25,000 ม.2
5,000-ไม่เกินกว่า
25,000 ม.2
- - -
7. อาคารที่ทำการของทางราชการ รัฐวิสาหกิจ
องค์การระหว่างประเทศหรือเอกชน
ตั้งแต่
55,000 ม.2
10,000-ไม่ถึง
55,000 ม.2
5,000-ไม่ถึง
10,000 ม.2
- -
8.อาคารของศูนย์การค้าหรือห้างสรรพสินค้า ตั้งแต่
25,000 ม.2
5,000-ไม่ถึง
25,000 ม.2
- - -
9. ตลาด เกินกว่าหรือ
เท่ากับ2,500 ม.2
1,500-ไม่ถึง
2,500 ม.2
1,000-ไม่ถึง
1,500 ม.2
500-ไม่ถึง
1,000 ม.2
-
10.ภัตตาคารและร้านอาหาร เกินกว่าหรือ
เท่ากับ2,500 ม.2
500-ไม่ถึง
2,500 ม.2
250-ไม่ถึง
500 ม.2
100-ไม่ถึง
250 ม.2
ไม่ถึง100 ม.2
 
 
 
 
หมายเหตุ : การกำหนดประเภทของอาคาร ก ข ค ง ดังตาราง
แหล่งที่มา : ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดประเภทของอาคาร เป็นแหล่งกำเนิดมลพิษที่จะต้องถูกควบคุมการปล่อยน้ำเสียลงสู่แหล่งน้ำสาธารณะหรือ ออกสู่สิ่งแวดล้อม ตีพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษาฉบับประกาศทั่วไป เล่ม111 ตอนพิเศษ 9ง ลงวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2537
 
 
<<<กลับสู่หน้าหลัก.

Powered by MakeWebEasy.com
เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว  และ  นโยบายคุกกี้